ข้อต่อ (joints) หมายถึง บริเวณรอยต่อระหว่างกระดูกกับกระดูกหือระหว่างกระดูกกับกระดูกอ่อน หรือกระดูกอ่อนกับกระดูกอ่อนมาเชื่อมต่อกัน โดยมีเอ็นหรือพังผืดมาเป็นตัวช่วยยึดเหนี่ยว 1) การจำแนกชนิดของข้อต่อ หากจำแนกชนิดของข้อต่อตามลักษณะรูปแอ่านเพิ่มเติม
วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559
ระบบโครงกระดูก
ร่างกายของแขนขาคงรูปอยู่ได้ โดยมีกระดูก และกระดูกอ่อนเป็นแกนอยู่ภายใน กระดูกทั้งหมดหนักประมาณ ๑/๗ ของน้ำหนักตัว กระดูกและกระดูกอ่อน (cartilage) มีความแข็งพอที่ จะให้เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อ เอ็น และเยื่ออ่อนอื่นๆ ได้ จึงเป็นตัวการให้เกิดการเคลื่อนไหวได้ ในที่บางแห่งกระดูกต่อกัน เป็นโพรงล้อมรอบอวัยวะอื่นๆ เช่น ส อ่านเพิ่มเติม
วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2559
กล้ามเนื้อหัวใจ
กล้ามเนื้อหัวใจ ประกอบเป็นกล้ามเนื้อหัวใจเพียงแห่งเดียวอยู่นอกอำนาจจิตใจ มีลักษณะเป็นเซลล์รูปทรงกระบอกมีลายตามขวางเป็นแถบสีทึบสลับกับสีจาง เซลล์กล้ามเนื้อนี้มีแขนงไปประสานกับแขนงของเซลล์ใกล้เคียง เซลล์ทั้งหมดจึงหดตัวพร้อมกัน และหดตัวเป็นจังหวะตลอดชีวิต ควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ การควบคุมของระบบประสาทเส้นประสาทนำออกใยประสาท อ่านเพิ่มเติม
กล้ามเนื้อเรียบ
เป็นกล้ามเนื้อของอวัยวะภายในเสียเป็นส่วนใหญ่ เช่นกล้ามเนื้อบุผนังลำไส้ บุกระเพาะและบุหลอดเลือด กล้ามเนื้อประเภทนี้ไม่อยู่กันเป็นมัดๆ แต่วางซ้อนกันเป็นชั้นของเนื้อเยื่อกล้ามเนื้ออย่างมีระเบียบ เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของจิตใจ เราไม่สามารถจะบังคับให้เคลื่อนไหวตามที่ต้องการได้มันทำงานของมันโดยอัตโนมัติ และกำกับโดยประสาทที่เกี่ยวข้องกับกล้ามเนื้อใน อ่านเพิ่มเติม
กล้ามเนื้อลาย
เป็นกล้ามเนื้อชุดแรกที่เห็นได้ทันที หลังจากถลกหนังออกจากร่างกายให้หมด กล้ามเนื้อชนิดนี้มีปลาย 2 ด้าน ซึ่งประสานกับเอ็นยึดกับกระดูกแต่ละชิ้นหรือมากกว่า 1 กล้ามเนื้อชนิดนี้อยู่รวมกันเป็นมัด ๆ ห่อหุ้มด้วยพังผืดบาง ๆ บางมัดมีลักษณะแบนบางและยาวพาดจากบริเวณหนึ่งของร่างกายไปสิ้นสุดปลายด้านหนึ่ง ณ บริเวณหนึ่งของร่างกาย เป็นกล้ามเนื้อที่ช่วยในการเคลื่อนไหวของร่างกาย เช่น การงอแขน งอขา ยืดแขน ยืดขา อ่านเพิ่มเติม
กระดูกอ่อน
กระดูกอ่อนจัดเป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดพิเศษที่มีเมทริกซ์แข็งกว่าเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดอื่นๆ ยกเว้นกระดูกแข็ง หน้าที่สำคัญของกระดูกอ่อนคือ รองรับส่วนที่อ่อนนุ่มของร่างกาย เนื่องจากผิวของกระดูกอ่อน เรียบ เพื่อจะให้การเคลื่อนไหวได้สะดวก ป้องกันการเสียดสี จึงพบว่ากระดูกอ่อนจะพบที่ปลายหรือหัวของกระดูก ที่ประกอบเป็นข้อต่อต่างๆ และยังเป็นต้นกำเนิดของกระดูกแข็งทั่วร่างกาย นอกจากนี้ กระดูกอ่อนยังทำหน้าที่รองรับน้ำหนั อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)